|
|
|
ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร พืชเศรษฐกิจหลักของตำบลนายาง คือ ข้าว ข้าวโพด และมันสำปะหลัง |
|
|
|
|
|
|
แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ |
|
เขตภูเขา หุบเขา และที่สูง บริเวณพื้นที่ด้านทิศเหนือและทิศตะวันออก อยู่ในเขตพื้นที่หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 และบางส่วนของ หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 5 ด้านทิศตะวันออก |
|
ที่ราบ บริเวณตอนกลางของพื้นที่ อยู่ในเขตหมู่ที่ 3 หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 5 และบางส่วนของ หมู่ที่ 1 ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ หมู่ที่ 2 ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ หมู่ที่ 6 ด้านทิศตะวันออก และหมู่ที่ 7 ด้านทิศเหนือ |
|
ที่ราบลุ่ม บริเวณตอนใต้ด้านทิศวันตกและทิศเฉียงใต้ อยู่ในเขตหมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 7 |
|
|
|
|
|
|
ตำบลนายางมีสภาพอากาศแบบร้อนชื้นสลับ
ร้อนแห้งแล้ง หรือฝน เมืองร้อนเฉพาะฤดูเพราะได้รับอิทธิพล
จากกระแสลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตกเฉียงใต้ มีสภาพอากาศ 3 ฤดู คือ |
|
ฤดูร้อน(ฤดูแล้ง) ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนพฤษภาคม |

 |
ฤดูฝน ช่วงเดือนมิถุนายน ถึงเดือนตุลาคม |

 |
ฤดูหนาว ช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนมกราคม |
|
|
|
|
|
|
ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยมีวัดและสำนักสงฆ์ จำนวน 9 แห่ง ดังนี้ |
|
วัดนาอิซาง |
|
วัดคีรีวงกต |
|
วัดเขาดินสุวรรณบาท |
|
วัดนายาง |
|
วัดหลักร้อย |
|
วัดนาคะนึง |
|
สำนักปฏิบัติธรรมพิชัยปัญญาวนาราม |
|
ที่พักสงฆ์เวชสันตาราม |
|
สำนักสงฆ์บ่อรัก |
|
|
|
|
|
|
|
ประเพณีสงกรานต์ เป็นประเพณีที่จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลอง
วันขึ้นปีใหม่ไทยที่ยึดถือปฏิบัติต่อกันมาแต่โบราณ |
|
ประเพณีตักบาตรเทโว เนื่องในเทศกาลวันออกพรรษา |
|
ประเพณีวันลอยกระทง ช่วงประมาณ เดือนกรกฎาคม |
|
ประเพณีวันลอยกระทง เป็นการสืบสานประเพณีทางศิลปะและวัฒนธรรม ที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย ที่ให้ความสำคัญแก่พระแม่คงคา |
|
พิธีทำขวัญข้าว จะเริ่มทำขวัญข้าวในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ตามคำโบราณกล่าวว่าเป็นการทำขวัญพระแม่โพสพ |
|
|
|
|
|
|
ระดับอนุบาล 1 และระดับก่อนวัยเรียน (ปฐมวัย) จำนวน 1 แห่ง |
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลนายาง |
ระดับประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง |
|
โรงเรียนบ้านนาอิซาง |
|
โรงเรียนบ้านนายาง |
|
โรงเรียนบ้านหนองกวาง |
|
โรงเรียนบ้านหลักร้อย |
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (โรงเรียนขยายโอกาส) จำนวน 2 แห่ง |
|
โรงเรียนบ้านนาอิซาง |
|
โรงเรียนบ้านนายาง |
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 1 แห่ง |
|
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ตำบลนายาง |
|
|
|
|
|
|
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนายาง |
|
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|
|
การคมนาคมขนส่งที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างตำบล อำเภอและจังหวัด จำนวน 6 เส้นทาง ดังนี้ |
|
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 จากเขตตำบลนาอิน
อำเภอพิชัย ถึง เขตอำเภอตรอน |
|
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1246 จากสี่แยกหนองกวาง
ถึง เขตอำเภอทองแสนขัน |
|
ทางหลวงชนบท อต. 2014 จากแยกบ้านหนองกวาง
ถึง สี่แยกบ้าน |
|
|
|
|
ทางหลวงชนบท อต. 5003 จากเขตบ้านคลองละวาน
ตำบลในเมือง ถึง เขตบ้านปากเหมือง ตำบลนาอิน |
|
|
ถนนโยธาธิการ อต. 2039 ชื่อท้องถิ่น สายหนองกระทวน
จากสามแยกบ้านกลาง ถึง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 |
|
|
ถนน รพช อต. 3032 จากเขตบ้านเต่าไห ตำบลท่าสัก
ถึง สี่แยกหนองกวาง |
|
การคมนาคมขนส่งที่ใช้เชื่อมต่อภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้านภายในตำบลนายาง ดังนี้ |
|
|
ถนนลาดยาง จำนวน 7 สาย |
|
|
ถนนคอนกรีต จำนวน 56 สาย |
|
|
ถนนลูกรัง จำนวน 42 สาย |
|
|
ถนนดิน จำนวน 6 สาย |
|
|
|
|